รถเทเลอร์รับจ้าง เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของระบบ Supply chain เพราะเป็นกลไกในการขับเคลื่อนสินค้าที่ผลิตจากภูมิภาคต่าง ๆ ต่างของประเทศให้สามารถเชื่อมโยง สอดประสานกันจนทำให้ภาคการผลิตขั้นตอนสุดท้ายออกมาได้สมบูรณ์แบบ บริการรถเทเลอร์รับจ้างทุกภาค และทั่วไทย นอกจากจะเป็นขนส่ง วัตถุดิบหลัก วัตถุดิบรอง หรืออุปกรณ์เครื่องมือต่าง ๆ ในแต่ละภาคอุตสาหกรรม ทั้งก่อสร้าง วัตถุดิบส่งโรงงาน การเคลื่อนย้ายเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตามที่กล่าวมาแล้ว บริการเทเลอร์รับจ้างทุกภาค และทั่วไทย จึงเป็นอีกหนึ่งภาคที่ช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจบ้านเราขับเคลื่อนไปได้ด้วยดี มารู้จักขนาดรถเทเลอร์มาตรฐานกันดีกว่าค่ะ 1. กว้าง 2.45 เมตร 2....
บริการรถตู้ VIP ให้เช่า ปัจจุบันมีบทบาทสำคัญอย่างมากในการช่วยเคลื่อนย้ายแรงงานในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ไล่เรียงตั้งแต่ โรงงาน บริการรถตู้ VIP ให้เช่าจะมีบริการับส่งเช้า เย็น ล่วงเวลา หรือเป็นกะ ก็แล้วแต่โรงงาน แต่นอกจากบริการเหล่านั้นแล้วว รถตู้ให้เช่ายังมีบริการเฉพาะกิจอีกหลายอย่าง เช่น 1. บริการรับส่งบุคคลทั่วไป พนักงานโรงงาน หรือการขนย้ายแรงงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เป็นกรณีเฉพาะกิจไป 2. บริการสันทนาการต่าง ๆ เช่น...
การตรวจรับสินค้าอาจจะดูเหมือนเป็นหน้าที่ปกติธรรมดาของพนักงานสโตร์ หรือผู้ที่มีหน้าที่ดูแลคลังสินค้า คือถ้าจำนวนครบถ้วนตามเอกสารกำกับสินค้าทุกอย่างก็จบ และส่วนใหญ่ก็มักจะเป็นแบบนั้น การที่สินค้าไม่ครบ แตกหัก เสียหาย หรือส่งมาผิดแบบ ผิดประเภท หรือผิดลูกค้านั้นโอกาสค่อนข้างมีน้อยมาก แต่ถ้าเมื่อไรมีแล้วก็ ฝันร้ายกลางวันแสก ๆ กันเลยล่ะ บางคนอาจจะต้องถึงขนาดตกงานกันก็มี หากสินค้าตัวนั้นกระทบกับรายใหญ่ แล้วจะต้องมีเหตุการณ์เชือดแพะให้ลูกค้าดู เพราะยังไงบริษัทก็รักษาลูกค้า แต่ฆ่าแพะแน่นอน จะเป็นแพจริงแพะปลอมไม่สำคัญ แต่ถ้าลูกค้าโกรธ โดยเฉพาะลูกค้าญี่ปุ่น ต้องมีแพะสังเวยแน่นอน แล้วทำอย่างไรถึงไม่เป็นแพะ หรือไม่มีแพะล่ะ? มีข้อหนึ่งที่อยากเตือนให้คนทำงานระลึกไว้เสมอว่าให้เชื่อตนเอง...
ก่อนหน้านี้เราก็เคยถามคำถามนี้เหมือนกับอีกหลาย ๆ คน ว่า Incoterm คืออะไร เพราะสำหรับคนไทยอย่างเรา ในโรงเรียนไม่มีสอน เคยเรียนเรื่อง term มาบ้างแต่ก็ไม่ได้เน้นคำว่า Incoterm เลยยิ่งกว่างมเข็มในมหาสมุทรเพราะต้องเรียนรู่ด้วยตัวเอง จากการทำงานจริง ถาม supplierบ้าง หาข้อมูลเพิ่มบ้าง และคิดว่าเพื่อน ๆ ที่อยู่ในสายอาชีพนี้ หรือน้อง ๆ ที่เรียนเกี่ยวกับโลจิสติกส์ก็คงประสบปัญหาแบบนี้มิใช่น้อย เพราะหากไม่ได้ลองทำงานจริง...
ปัจจัยที่จะช่วยให้โลจิสติกส์ทำงานได้สมบูรณ์แบบมีสามปัจจัยก็คือ ลูกค้าสัมพันธ์ ระบบการผลิต และการจัดซื้อ ระบบการผลิต ถือได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์กรณ์ควรจะให้ความสำคัญเพราะระบบการผลิตจะเป็นการเพิ่มคุณภาพให้กับสินค้านั้น ๆ ระบบการผลิตเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าของเราได้อย่างไร? คำตอบก็คือ ระบบการผลิต จะทำการแปรสภาพสินค้าของเราให้กับลูกค้า ซึ่งลูกค้าในที่นี้หมายถึงได้ทั้งผู้บริโภคลำดับสุดท้ายหรือว่าลูกค้าของบริษัทซึ่งอาจจะหมายถึงผู้บริโภคลำดับต่อไปในโซ่อุปทานซึ่งอาจจะยังเป็นซัพพลายเออร์ของบริษัทอื่นๆอยู่ก็เป็นได้ ประเด็นที่ ระบบการผลิต เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ มากที่สุดก็คือเรื่องของปริมาณของวัตถุดิบที่จะต้องสั่งในแต่ละครั้ง ส่วนเรื่องรอง ๆ ลงมาคือปริมาณของสินค้าที่จะผลิตในช่วงเวลาที่บริษัทได้วางแผนไว้ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า อีกทั้งการเก็บสต็อคควรต้องสอดล้องสัมพันธ์กับปริมาณและประเภทที่ลูกค้าต้องการอีกด้วย อีกสิ่งหนึ่งของระบบการผลิตที่โลจิสติกส์สามารถช่วยให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นก็คือ ความหลากหลายของสินค้าที่สามารถใช้วิธีการผลิตแบบเดียวกันได้ ซึ่งในทางโลจิสติกส์เชื่อว่าถ้ามีความหลากหลายมาก ปริมาณต่อล็อตก็จะไม่ค่อยมาก มีความยืดหยุ่นในการใช้วัตถุดิบเพื่อที่จะผลิตและสามารถผลิตสินค้าออกมาได้ในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งความหลากหลายและยืดหยุ่นนี่จะส่งผลเกี่ยวกับเรื่องการขนส่งและบริการทางด้านคลังสินค้าโดยเฉพาะ ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อเทคโนโลยีเป็นอีกประการหนึ่งที่ โลจิสติกส์ จะช่วยได้มากได้แก่ ปริมาณการผลิต อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต...
ระบบโลจิสติกส์ กับ supply chain เป็นสองคำที่ได้ยินกันมานานมากแล้ว แต่เราก็ยังไม่ค่อยเข้าใจอยู่ดีว่ามันคืออะไร ระบบโลจิสติกส์ นี่มันก็คือ supply chain หรือโซ่อุปทานใช่รึเปล่า จริงๆแล้ว โลจิสติกส์เป็นแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้นของโซ่อุปทาน โดยที่โลจิสติกส์นั้นจะครอบคลุมถึงการวางแผนการใช้ทรัพยากรขององค์กร การควบคุมให้ใช้ได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด และการลำเลียงสินค้าและบริการจากจุดเริ่มต้นไปจนถึงจุดสิ้นสุดที่สินค้าและบริการนั้นๆจะถูกใช้โดยผู้บริโภค ในขณะที่โซ่อุปทานนั้นจะครอบคลุมในเรื่องของโลจิสติกส์ไปจนถึงการสั่งซื้อสินค้าของผู้บริโภค กระบวนการผลิต รวมไปถึงกระบวนการอื่นๆที่เกิดขึ้นตั้งแต่ซัพพลายเออร์ผลิตสินค้าจนถึงการที่สินค้าถูกวางจำหน่ายตามห้างร้านต่างๆ เพราะฉะนั้นสองคำนี้มีความหมายต่างกันอย่างมาก สำหรับระบบโลจิสติกส์จะมีกระบวนการใหญ่ๆอยู่สองแบบ ก็คือ กระบวนการไหลเวียนของวัตถุดิบและกระบวนการไหลเวียนของข้อมูล ซึ่งองค์กรจะประสบความสำเร็จอย่างมากในการลดต้นทุนการผลิตถ้าสามารถทำให้สองกระบวนการนนี้ทำงานไปด้วยกันได้ สำหรับกระบวนการผลิตนั้นจะครอบคลุมตั้งแต่การลำเลียงหรือกักเก็บวัตถุดิบในรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นตั้งแต่ที่เป็นเพียงวัตถุดิบธรรมดายังไม่เป็นรูปเป็นร่าง วัตถุดิบที่ได้รับการแปรสภาพแล้ว และวัตถุดิบที่แปรสภาพทุกอย่างจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบที่ยังไม่ได้รับการแปรสภาพก็ไม่มีคุณภาพหรือมีความสำคัญเท่ากับวัตถุดิบที่ได้รับการแปรสภาพเป็นสินค้าส่งถึงมือผู้บริโภค...
สวัสดีค่ะเพื่อน ๆ หลังจากที่ Incoterm 2010 ออกมาใหม่ เชื่อว่ายังมีหลาย ๆ คนไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่าง ดังนั้นวันนี้เรามาดู ข้อแตกต่างระหว่าง Incoterm 2000 และ Incoterm 2010 กันดีกว่านะคะ ก่อนอื่นมาทำความเข้าใจกันตั้งแต่พื้นฐานก่อนว่า Incoterm คืออะไร และใครมีบทบาท หน้าที่ อย่างไรกันบ้าง เงื่อนไขการขนส่งระหว่างประเทศ...